วันศุกร์ที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2554

พืชพรรณต่างๆ

สัตว์นานาชาติ

สัตว์จัดเป็นแหล่งโปรตีนที่สำคัญต่อมนุษย์ การพัฒนาปรับปรุงพันธุ์สัตว์จึงเป็นวิธีการหนึ่งที่จะช่วยให้ได้ผลผลิตโปรตีนเพียงพอต่อการเพิ่มขึ้นของประชากรโลก นอกจากนั้นสัตว์พื้นบ้านประเภทต่าง ๆ ในหลาย ๆ ประเทศ เริ่มได้รับการสนใจในการอนุรักษ์และพัฒนาปรับปรุงพันธุ์ให้ได้ตามวัตถุประสงค์ของประชากรในท้องถิ่น การสร้างสายพันธุ์สัตว์ใหม่ ๆ ที่ใช้สัตว์พื้นบ้านเหล่านี้เป็นแหล่งพันธุกรรม จะยังคงมีการพัฒนาต่อไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุด ปัจจุบันงานวิชาการทางด้านพันธุศาสตร์ปริมาณ พันธุศาสตร์โมเลกุล ฯลฯ ได้มีการพัฒนาไปเร็วมาก การนำเทคโนโลยีเหล่านี้มาผสมผสานใช้กันการคัดเลือกปรับปรุงพันธุ์ ย่อมเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาอุตสหากรรมการเลี้ยงสัตว์ของโลก ดังนั้นเพื่อให้สามารถสร้างสายพันธุ์สัตว์รองรับกับการเติบโตของอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์ของโลก จึงจำเป็นต้องเปิดหลักสูตร การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพื่อผลิตบุคลากรระดับมหาบัณฑิต ในสาขาวิชาการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ (หลักสูตรนานาชาติ) สำหรับรองรับกับการขยายตัวของอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์ ทั้งในภาครัฐและเอกชนทั้งในและต่างประเทศ 2. เพื่อเปิดโอกาสให้บุคลากรที่จบการศึกษาทางวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาสัตวบาล / สัตวศาสตร์ หรือสัตวแพทย์ หรือผู้ที่ทำงานในอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์ทั้งภาครัฐและเอกชน ทั้งในประเทศและนักศึกษาจากประเทศใกล้เคียง สามารถเข้ามาศึกษาเพิ่มเติมความรู้ในด้านการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ได้โดยเร็ว 3. เพื่อเป็นการสนับสนุนการสร้างสายพันธุ์สัตว์ขึ้นทั้งภายในและต่างประเทศ และเป็นการยกระดับบุคลากรในแวดวงการเลี้ยงสัตว์ให้มีความรู้และประสบการณ์ในด้านวิชาการการปรับปรุงพันธุ์เพิ่มขึ้น 4. สร้างเครือข่ายระหว่างภาคอุตสาหกรรมกลุ่มผู้ผลิตและภาคการศึกษา สถาบันการศึกษา สถาบันการวิจัย ทั้งในและนอกประเทศ เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์และเทคนิคต่าง ๆ รวมถึงการสร้างงานวิจัยอย่างต่อเนื่อง
5. กำหนดการเปิดสอน
ปีการศึกษา 2547
6. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาสัตวบาล/สัตวศาสตร์ สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีคะแนนเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 2.50 หรือมีประสบการณ์ในการทำงานในสาขาที่เกี่ยวข้องไม่น้อยกว่า 2 ปี
มีคะแนน TOEFL ไม่ต่ำกว่า 525 คะแนน หรืออยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจำภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร กำแพงแสน
คุณสมบัติอื่น ๆ ตามข้อบังคับว่าด้วยการศึกษาขั้นบัณฑิตศึกษาของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
7. วิธีการคัดเลือกเข้าศึกษา
ตามข้อบังคับว่าด้วยการศึกษาขั้นบัณฑิตศึกษาของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และระเบียบการรับบุคคลเข้าศึกษาของหลักสูตร โดยคัดเลือกด้วยวิธีการสอบสัมภาษณ์ ทั้งนี้พิจารณาความรู้พื้นฐานสาขาสัตวบาล/สัตวศาสตร์ ความสามารถให้เวลากับการศึกษาอย่างเต็มที่ รวมทั้งพิจารณาจากคุณสมบัติด้านอื่น ๆ จากใบสมัคร และหลักฐานประกอบการสมัคร
8. ระบบการศึกษา
ตามข้อบังคับว่าด้วยการศึกษาขั้นบัณฑิตศึกษาของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
9. ระยะเวลาศึกษา
ต้องเรียนตามหลักสูตรปริญญาโท ภายใน 4 ปีการศึกษา นับตั้งแต่วันที่เข้ารับการศึกษา ตามข้อบังคับว่าด้วยการศึกษาขั้นบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
10. การลงทะเบียน
ตามข้อบังคับว่าด้วยการศึกษาขั้นบัณฑิตศึกษาของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
11. การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา
การวัดผลมีการสอบวัดคุณสมบัติและประมวลความรู้ในรูปแบบข้อเขียน หรือปากเปล่าหรือสองอย่าง และสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย ผลการสอบต้องได้รับความเห็นชอบเป็นเอกฉันท์ของคณะกรรมการสอบทั้งนี้ต้องปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยการศึกษาขั้นบัณฑิตศึกษาของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
12. อาจารย์ผู้สอน

กีฬาสากล

กีฬาเป็นกิจกรรมที่มีการแข่งขันเพื่อผลแพ้ชนะ โดยผู้แข่งขันจะเล่นคนเดียวหรือเล่นเป็นทีมขึ้นอยู่กับประเภทของกีฬา ซึ่งกีฬาที่เล่นในประเทศไทยมีทั้งกีฬาไทยและกีฬาสากล
กีฬาสากลเป็นกีฬาที่เป็นที่ยอมรับขององค์กรกีฬาทั่วโลกให้เป็นกีฬาที่บรรจุอยู่ในเกมการแข่งขัน ซึ่งในชั้นเรียนนี้จะนำเสนอกีฬาที่เป็นที่รู้จักได้แก่ ยืดหยุ่นขั้นพื้นฐาน กรีฑา วอลเลย์บอล
ก่อนการฝึกเล่นกีฬาทุกครั้ง นักเรยนควรปฎิบัติตามขั้นตอน ดังนี้
๑) ตรวจอุปกรณ์การฝึกให้อยู่ในสภาพที่ดีและปลอดภัย
๒) อบอุ่นร่างกายเพื่อเตรียมความพร้อมของร่างกาย
๓) สังเกตการสาธิตการฝึกปฎิบัติของครูผู้สอน
๔) ฝึกปฎิบัติด้วยความระมัดระวัง
๕) ประเมินผลการฝึกปฎิบัติ เพื่อหาข้อบกพร่อง และเตรียมปรับปรุงแก้ไข
๖) ปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง และฝึกซ้ำ ๆ
๗) เมื่อฝึกกิจกรรมเสร็จแล้ว ให้เก็บอุปกรณ์เข้าที่ให้เรียบร้อย
ยืดหยุ่นขั้นพื้นฐาน
ยืดหยุ่นขั้นพื้นฐาน เป็นกิจกรรมพื้นฐานของกีฬายิมนาสติก และกีฬาเกือบทุกชนิดที่จะต้องใช้ความแข็งแรง ความอ่อนตัว การทรงตัว จังหวะและความสัมพันธ์ระหว่างประสาทกับกล้ามเนื้อ ซึ่งจะทำให้ผู้ฝึกมีร่างกายแข็งแรงเคลื่อนไหวได้อย่างมั่นใจและสง่างาม มีการตัดสินใจที่ดี
กิจกรรมยืดหยุ่นขั้นพื้นฐานมีอยู่หลายกิจกรรม เช่น ทรงตัว กลิ้งตัว เหวี่ยงตัว ซึ่งในชั้นเรียนนี้จะฝึกกิจกรรม ดังนี้
๑ การทรงตัว
๑) หกกบ
หกกบคือ การเลี้ยงตัวให้ตั้งอยู่ได้บนแขน ผู้ที่ทำหกกบได้ดีต้องมีร่างกายที่แข็งแรง เพราะจะบังคับกล้ามเนื้อให้นิ่งอยู่กับที่ได้ ซึ่งปฎิบัติได้ ดังนี้
(๑) นั่งยอง ๆ ด้วยปลายเท้า เข่าแยกวางฝ่ามือลงบนพื้นข้างหน้า ระยะห่างระหว่างมือและเท้าเท่ากับความกว้างประมาณ ๑ ช่วงไหล่แขนทั้งสองอยู่ระหว่างทั้งสองข้าง
(๒) งอสอกทั้งสองข้าง โดยให้ข้อศอกอยู่ตรงรอยพับของเข่า แล้วพยายามให้ขาพับด้านในวางบนแขนเหนือข้อศอกเล็กน้อย
(๓) ยกเท้าขึ้นจากพื้น น้ำหนักตัวอยู่บนมือทั้งสอง เงยหน้าขึ้นเพื่อช่วยในการเลี้ยงตัว แล้วเลี้ยงตัวไว้ให้นานที่สุด
๒) หกสามเส้า
หกสามเส้าหรือหกหัวตั้ง คือ การตั้งศีรษะกับพื้น โดยเท้าทั้งสองข้างชี้ขึ้นข้างบน เป็นการฝึกกล้ามเนื้อให้ทำงานแบบเกร็งอยู่กับที่ ซึ่งปฎิบัติได้ ดังนี้
(๑) จับคู่กับเพื่อน เพื่อให้เพื่อนคอยช่วยเหลือ
(๒) นั่งคุกเข่า วางฝ่ามือลงบนพื้นข้างหน้า
(๓) ก้มศีรษะวางลงบนพื้น ให้กลางศีรษะติดพื้นให้ศีรษะและมือวางลงบนพื้นโดยให้เป็นรูปสามเหลี่ยมหรือสามเส้า
(๔) ค่อยๆ ยกตัวขึ้น โดยเหวี่ยงขาข้างหนึ่งขึ้น แล้วจึงยกขาข้างที่เหลือตามโดยมีเพื่อนคอยช่วยเหลือ พยายามใช้ศีรษะและมือเลี้ยงลำตัวตรงไปในอากาศ
๓)การทรงตัวด้วยมือและแขน
เป็นการใช้มือและแขนช่วยรับน้ำหนักตัวและประคองตัวไม่ให้ล้มลง
(๑) การฝึกทรงตัวบนเก้าอี้ สามารถปฎิบัติตามขั้นตอน ดังนั้น
๑. นั่งบนเก้าอี้ ลำตัวตั้งตรง แขนวางแนบลำตัว ฝ่ามือวางบนเก้าอี้
๒. ยกลำตัวและเท้าให้พ้นพื้น ใช้มือและแขนเลี้ยงลำตัวให้ลอยอยู่ได้
(๒) การฝึกทรงตัวบนพื้นสามารถปฎิบัติตามขั้นตอน ดังนี้
๑. นั่งราบกับพื้น เท้าเหยียดตรงชิดกัน ฝ่ามือวางราบกับพื้น โดยเยื้องไปข้างหลังเล็กน้อย ลำตัวเอนไปข้างหลังเล็กน้อย
๒. ยกลำตัวและขาทั้งสองข้างขึ้นให้พ้นพื้น โดยใช้มือและแขนเลี้ยงลำตัวให้ลอยอยู่ได้
๒ การต่อตัว
การต่อตัวเป็นการฝึกที่จะช่วยทำให้ผู้มีความอดทน ความแข็งแรงมีความเชื่อมั่นในตนเอง รวมทั้งยังช่วยเสริมสร้างความรัก ความสามัคคีและความเห็นอกเห็นใจให้เกิดขึ้นในหมู่คณะ การต่อตัว เป็นกิจกรรมที่อาจทำให้เกิดอุบัติเหตุได้ง่าย ดังนั้นผู้ฝึกจึงควรมีความระมัดระวังเป็นพิเศษ
๓ ความคล่องตัว
ความคล่องตัวคือ การเคลื่อนที่ของร่างกายที่รวดเร็ว คล่องแคล่ว
๑) การวิ่งเปลี่ยนทิศทาง
เป็นการวิ่งหลบหลีกและเปลี่ยนทิศทางได้คล่องแคล่วซึ่งปฎิบัติได้ ดังนี้
(๑) วิ่งสลับทิศทาง เป็นการวิ่งตรงไปและเลี้ยวซ้ายหรือขวาสลับกันไป
(๒) วิ่งไปและวิ่งกลับ เป็นการวิ่งตรงไปอ้อมหลักและวิ่งหลับมาที่จุดเดิม
(๓) วิ่งอ้อมหลักสลับไปมา เป็นการวิ่งซิกแซ็กอ้อมหลัก
(๔) วิ่งอ้อมหลักหรือจุด ๓ จุด เป็นการวิ่งอ้อมหลักเป็นรูปสามเหลี่ยม
๒) การข้ามสิ่งกีดขวาง
เป็นการทำให้เกิดความเชื่อมั่นในตนเองและเคลื่อนที่ได้รวดเร็ว ซึ่งมีวิธีปฎิบัติ ดังนี้
(๑) กระโดดข้ามสิ่งกีดขวาง
(๒) ม้วนตัวข้ามสิ่งกีดขวาง
๔ ความอ่อนตัว
ความอ่อนตัวคือ ความสามารถของร่างกายในการงอตัวและการยืดตัวการฝึกอ่อนตัวจะช่วยป้องกันอันตรายต่อกระดูกและกล้ามเนื้อ ซึ่งมีวิธีปฎิบัติดังนี้
(๑) นั่งบิดตัวซ้ายขวา
(๒) นอนใช้ปลายเท้าแตะพื้นเหนือศีรษะ
(๓) ยืนแอ่นตัวไปด้านหลัง
(๔) นั่งแตะปลายเท้า
(๕) ก้มบิดลำตัว

วันห้องสมุด


เรื่องราวของหอสมุดแห่งชาติ และกิ่งก้านอีก 17 สาขา...
« เมื่อ: พฤษภาคม 13, 2009, 10:36:28 AM »
หอสมุดแห่งชาติ
ความเป็นมาของหอสมุดแห่งชาติ หอสมุดแห่งชาติปัจจุบันของไทย สถาปนาขึ้นด้วยพระมหากรุณาธิคุณสมเด็จพระมหากษัตราธิราชในพระบรมราชจักรีวงศ์ โดยการรวมหอพระมณเฑียรธรรม หอพระสมุดวชิรญาณ และหอพุทธสาสนสังคหะเข้าด้วยกัน ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีพระบรมราชโองการประกาศจัดการ หอพระสมุดวชิรญาณ ให้เป็น หอสมุดสำหรับพระนคร เมื่อ วันที่ ๑๒ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๔๘ และได้วิวัฒนาการเป็นสำนักหอสมุดแห่งชาติปัจจุบัน หอพระสมุดวชิรญาณ เดิมตั้งอยู่ในพระบรมมหาราชวัง ต่อมาได้ย้ายมาตั้งอยู่ข้างนอกประตูพิมานไชยศรี คือศาลาสหทัยสมาคม แต่การบริหารและการให้บริการของหอพระสมุดเป็นสมาคม และเป็นสโมสรสำหรับสมาชิกเท่านั้น ในปีพุทธศักราช ๒๔๔๐ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสยุโรปได้เสด็จทอดพระเนตรกิจการหอสมุดแห่งชาติอังกฤษและหอสมุดแห่งชาติฝรั่งเศส เมื่อเสด็จนิวัติพระนคร มีพระราชดำริว่า หอพระสมุดวชิรญาณที่ทรงร่วมกันจัดตั้งขึ้นนั้นเป็นหอพระสมุดสำหรับราชสกุล แม้จะก่อให้เกิดประโยชน์ในทางวิชาการความรู้ยังไม่กว้างขวาง เพราะส่วนมากเป็นสมาชิกและอยู่ในวงแคบ หากขยายกิจการหอพระสมุดออกไปให้เป็น หอสมุดสำหรับพระนคร เพื่อพสกนิกรจะได้แสวงหา ประโยชน์ต่างๆจะได้จากการอ่านหนังสือ คงจะเป็นประโยชน์มากยิ่งขึ้นสมตามพระราชประสงค์ที่จะทรงเฉลิมพระเกียรติยศสนองพระเดชพระคุณ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้จัดตั้งหอพระสมุดวชิรญาณ เป็นหอสมุดสำหรับพระนครขึ้นเมื่อวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๔๔๘ และพระราชทานนามว่า หอพระสมุดวชิรญาณสำหรับพระนคร ตามพระสมณนามาภิไธยในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ขณะดำรงพระอิสริยยศ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร เป็นสภานายกหอพระสมุดวชิรญาณสำหรับพระนครได้พัฒนาและเจริญรุ่งเรืองตามลำดับ เมื่อพระองค์เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติบรมราชาภิเษกแล้ว จึงโปรดเกล้าฯให้ย้ายหอพระสมุดวชิรญาณสำหรับพระนคร มาไว้ที่ ตึกใหญ่ริมถนนหน้าพระธาตุซึ่งเรียกว่าตึกถาวรวัตถุ และพระองค์ได้เสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธีเปิด เมื่อวันที่ ๖ มกราคม ๒๔๕๙ กิจการของหอพระสมุดวชิรญาณสำหรับพระนครเจริญก้าวหน้าขึ้นเป็นลำดับได้มีการรวบรวมหนังสืออันมีค่ายิ่งของประเทศไว้ได้เป็นจำนวนมากและยังได้วางรากฐานการจัดห้องสมุดตามมาตรฐานสากลหลายประการ เช่น การจัดหมวดหมู่หนังสือ ทำบัตรรายการค้นหนังสือ ทำบรรณานุกรม และการจัดพิมพ์หนังสือที่มีคุณค่าต่างๆ จำนวนมาก เป็นต้น ใน ปีพุทธศักราช ๒๔๖๙ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ โปรดเกล้าฯให้แยกหอพระสมุด วชิรญาณสำหรับพระนครออกเป็น ๒ หอ คือ หอพระสมุดวชิราวุธ ตั้งอยู่ที่ตึกถาวรวัตถุเช่นเดิมให้เป็นที่เก็บหนังสือฉบับพิมพ์และ หอพระสมุดวชิรญาณ ให้ใช้เป็นที่เก็บหนังสือตัวเขียนและตู้พระธรรม ปีพุทธศักราช ๒๔๗๖ รัฐบาลจัดตั้งกรมศิลปากรขึ้นและมีพระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการกำหนดให้หอพระสมุดสำหรับพระนคร มีฐานะเป็นกองหนึ่งในกรมศิลปากรเรียกว่า กองหอสมุดและได้มีการเปลี่ยนแปลงชื่อหอพระสมุดสำหรับพระนครเป็นหอสมุดแห่งชาติในเวลาต่อมา หอสมุดแห่งชาติได้พัฒนากิจการเจริญรุ่งเรืองขึ้นตามลำดับมี ผู้ใช้บริการจำนวนมากจนถึง พุทธศักราช ๒๕๐๕ รัฐบาลได้อนุมัติงบประมาณก่อสร้างอาคารหอสมุดแห่งชาติเป็นอาคารทรงไทย สูง ๕ ชั้นขึ้น ที่บริเวณท่าวาสุกรี ถนนสามเสน และได้มีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๐๙ สำนักหอสมุดแห่งชาติ เป็นอาคารทรงไทย ๕ ชั้น บนเนื้อที่ประมาณ ๑๗ ไร่ ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ท่าวาสุกรี ถนนสามเสน เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร สังกัดกรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม
หอสมุดแห่งชาติมีสาขาทั้งหมด 17 สาขาด้วยกัน ดังนี้1. หอสมุดแห่งชาติเขตลาดกระบัง เฉลิมพระเกียรติ 280/8 หมู่ 2 ถนนหลวงพรตพิทยพยัต เขตลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520โทรศัพท์ 02 739-2297-8 โทรสาร 02 739-2297-8 ต่อ 206 เวลาเปิด-ปิดทำการ/บริการ :: 8.30 - 16.30 น. วันจันทร์ - ศุกร์ หยุดวันเสาร์ - อาทิตย์ และวันนักขัตฤกษ์ 2. หอสมุดแห่งชาติอินทร์บุรี สิงห์บุรี109 หมู่ 1 ตำบลอินทร์บุรี อำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี 16110โทรศัพท์ 036 581-520 เวลาเปิด-ปิดทำการ/บริการ :: 9.00-17.00 น. วันอังคาร-เสาร์ หยุดวันอาทิตย์-วันจันทร์ และวันนักขัตฤกษ์ 3. หอสมุดแห่งชาติรัชมังคลาภิเษก กาญจนบุรี ถนนแสงชูโต ตำบลบ้านเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี 71000 โทรศัพท์ 034 513-924-6, 516-755 โทรสาร 034 513-924เวลาเปิด-ปิดทำการ/บริการ ::9.00-17.00 น. วันอังคาร-เสาร์ หยุดวันอาทิตย์-วันจันทร์ และวันนักขัตฤกษ์ 4. หอสมุดแห่งชาติจังหวัดสุพรรณบุรี เฉลิมพระเกียรติ ถนนสุพรรณบุรี-ชัยนาท ตำบลสนามชัย อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี 72000 โทรศัพท์ 035 535-343 , 535-244 โทรสาร 035 535-343 เวลาเปิด-ปิดทำการ/บริการ :: 9.00-17.00 น. วันอังคาร-พุธ 9.00-20.30 น. วันพฤหัสบดี-เสาร์ หยุดวันอาทิตย์-วันจันทร์ และวันนักขัตฤกษ์

ระบบสารสนเทศ

ระบบสารสนเทศ (Information system) หมายถึง ระบบที่ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ได้แก่ ระบบคอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟท์แวร์ ระบบเครือข่าย ฐานข้อมูล ผู้พัฒนาระบบ ผู้ใช้ระบบ พนักงานที่เกี่ยวข้อง และ ผู้เชี่ยวชาญในสาขา ทุกองค์ประกอบนี้ทำงานร่วมกันเพื่อกำหนด รวบรวม จัดเก็บข้อมูล ประมวลผลข้อมูลเพื่อสร้างสารสนเทศ และส่งผลลัพธ์หรือสารสนเทศที่ได้ให้ผู้ใช้เพื่อช่วยสนับสนุนการทำงาน การตัดสินใจ การวางแผน การบริหาร การควบคุม การวิเคราะห์และติดตามผลการดำเนินงานขององค์กร (สุชาดา กีระนันทน์, 2541)

ระบบสารสนเทศ หมายถึง ชุดขององค์ประกอบที่ทำหน้าที่รวบรวม ประมวลผล จัดเก็บ และแจกจ่ายสารสนเทศ เพื่อช่วยการตัดสินใจ และการควบคุมในองค์กร ในการทำงานของระบบสารสนเทศประกอบไปด้วยกิจกรรม 3 อย่าง คือ การนำข้อมูลเข้าสู่ระบบ (Input) การประมวลผล (Processing) และ การนำเสนอผลลัพธ์ (Output) ระบบสารสนเทศอาจจะมีการสะท้อนกลับ (Feedback) เพื่อการประเมินและปรับปรุงข้อมูลนำเข้า ระบบสารสนเทศอาจจะเป็นระบบที่ประมวลด้วยมือ(Manual) หรือระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์ก็ได้ (Computer-based information system –CBIS) (Laudon & Laudon, 2001)
แต่อย่างไรก็ตามในปัจจุบันเมื่อกล่าวถึงระบบสารสนเทศ มักจะหมายถึงระบบที่ต้องอาศัยคอมพิวเตอร์และระบบโทรคมนาคม

ระบบสารสนเทศ หมายถึง ระบบคอมพิวเตอร์ที่จัดเก็บข้อมูล และประมวลผลเป็นสารสนเทศ และระบบสารสนเทศเป็นระบบที่ต้องอาศัยฐานข้อมูล (CIS 105 -- Survey of Computer Information Systems, n.d.)
ระบบสารสนเทศ หมายถึง ชุดของกระบวนการ บุคคล และเครื่องมือ ที่จะเปลี่ยนข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ (FAO Corporate Document Repository, 1998) ระบบสารสนเทศ ไม่ว่าจะเป็นระบบมือหรือระบบอัตโนมัติ หมายถึง ระบบที่ประกอบด้วย

เครื่องดนตรีสากล

เครื่องดนตรีประเภทกลุ่มเครื่องลมไม้ (Woodwind)
ตัวอย่างเครื่องดนตรีในกลุ่มนี้
ขลุ่ยเรคอร์เดอร์ (Recorder)
ฟลุ๊ต (Flute) และ ฟลุ๊ต-ปิดโคโล (Flute-Picolo)
คลาริเนท (Clarinet)
แชกโซโฟน (Saxophone)
บาสซูน (bassoon)
โอโบ (Oboe)
[แก้] เครื่องดนตรีประเภทกลุ่มเครื่องทองเหลือง(Brass Instrument)
ตัวอย่างเครื่องดนตรีในกลุ่มนี้
ทรัมเป็ท (Trumpet)
คอนเน็ท (Cornet)
เฟรนช์ ฮอร์น (French Horn)
ทรอมโบน (Trombone)
แซ็กฮอร์น (Saxhorn)
ซูซาโฟน (Sousaphone)
ทูบา (Tuba)
ยูโฟเนียม (Euphonium)
พัลลาเดียม(Palladium)
[แก้] เครื่องดนตรีประเภทกลุ่มเครื่องกระทบ (Percussion Instrument)
ตัวอย่างเครื่องดนตรีในกลุ่มนี้
กลอง (Drum), ทิมพานี(Timpani)
ฉาบ (Cymbol), ฆ้อง (Gong)
เบลลีลา (Bellela), ไซโลโฟน (Xylophone)
มาราคัส แทมโปลิน
คาสทาเนทหรือกรับสเปน (Castanet)
[แก้] เครื่องดนตรีประเภทมีลิ่มนิ้ว (Keyboard Instrument)
ตัวอย่างเครื่องดนตรีในกลุ่มนี้
ออแกน (Organ)
เมโลเดี้ยน (Melodian)
เปียโน (Piano)
แอคคอเดียน (Accordion)
ฮาปซิคอร์ด
อิเล็คโทน (Electone

เครื่องดนตรีไทย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา

บทความในหมวดหมู่นี้เป็นส่วนหนึ่งของ โครงการประเทศไทย มีจุดมุ่งหมายที่จะรวบรวมเรื่องทุกอย่างเกี่ยวกับประเทศไทย ถ้าต้องการมีส่วนรวม แก้ไข สามารถร่วมได้ที่ หน้าโครงการ
หน้านี้เป็นหน้ารวมบทความในหมวดหมู่ เครื่องดนตรีไทย สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมดูได้ที่ เครื่องดนตรีไทย
หมวดหมู่ย่อย
หมวดหมู่นี้มี 3 หมวดหมู่ย่อย จากทั้งหมด 3 หมวดหมู่

[×] เครื่องดนตรีไทยภาคอีสาน (0)

[×] ปี่ (0)

[×] เครื่องดนตรีไทยภาคเหนือ (0)
บทความในหมวดหมู่ "เครื่องดนตรีไทย"
มีบทความ 45 หน้าในหมวดหมู่นี้จากทั้งหมด 45 หน้า รายการที่ปรากฎด้านล่างอาจไม่รวมการแก้ไขล่าสุด
เครื่องดนตรีไทย

กระจับปี่
กรับ
กลองชาตรี
กลองตะโพน
กลองทัด
กลองมลายู
กลองยาว
กลองสองหน้า
กลองแขก

ขลุ่ย
ขลุ่ยหลิบ
ขลุ่ยอู้
ขลุ่ยเพียงออ
ขิม

ฆ้อง
ฆ้องมอญ
ฆ้องวงเล็ก
ฆ้องวงใหญ่

จะเข้

ฉาบ
ฉิ่ง

ซอ
ซอกันตรึม
ซอด้วง
ซอสามสาย
ซออู้

ตะโพน
ตะโพนมอญ

โทน

บัณเฑาะว์

เปิงมาง
ปี่
ปี่ชวา
ปี่นอก
ปี่มอญ
ปี่ใน

ระนาด
ระนาดทุ้ม
ระนาดทุ้มเหล็ก
ระนาดเอก
ระนาดเอกเหล็ก
ระนาดแก้ว
รำมะนา

อังกะลุง

ลักษณะภูมิประเทศทวีปเอเชีย

ลักษณะภูมิประเทศ
ทวีปเอเชียมีลักษณะภูมิประเทศแตกต่างกันหลายชนิด ในส่วนที่เป็นภาคพื้นทวีปแบ่งออกเป็นเขตต่าง ๆ ได้ 5เขตคือ
1.เขตที่ราบต่ำตอนเหนือ เขตที่ราบต่ำตอนเหนือ ได้แก่ ดินแดนที่อยู่ทางตอนเหนือของทวีปเอเชียในเขตไซบีเรีย ส่วนใหญ่อยู่ในเขต โครงสร้างแบบหินเก่าที่เรียกว่า แองการาชีลด์ มีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบขนาดใหญ่ มีแม่น้ำอ๊อบ แม่น้ำเยนิเซ และแม่น้ำลีน่าไหลผ่าน บริเวณนี้มีอาณาเขตกว้างขวางมาก แต่ไม่ค่อยมีผู้คนอาศัยอยู่ ถึงแม้ว่าจะเป็นที่ราบ เพราะเนื่องจากมีภูมิอากาศหนาวเย็นมากและทำการเพาะปลูกไม่ได้
2.เขตที่ราบลุ่มแม่น้ำ เขตที่ราบลุ่มแม่น้ำ ได้แก่ ดินแดนแถบลุ่มแม่น้ำต่าง ๆ ซึ่งมีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบ และมักมีดินอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก ส่วนใหญ่อยู่ทางเอเชียตะวันออก เอเชียใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือใต้ ได้แก่ ที่ราบลุ่มฮวงโห ที่ราบลุ่มแม่น้ำแยงซีเกียง ในประเทศจีน ที่ราบลุ่มแม่น้ำสินธุที่ราบลุ่มแม่น้ำคงคา และที่ราบลุ่มแม่น้ำพรหมบุตร ในประเทศปากีสถาน อินเดีย และบังกลาเทศ ที่ราบลุ่มแม่น้ำไทกริส ที่ราบลุ่มแม่น้ำยูเฟรทีส ในประเทศอิรัก ที่ราบลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่าง ในประเทศกัมพูชา และเวียดนาม ที่ราบลุ่มแม่น้ำแดง ในประเทศเวียดนาม ที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ในประเทศไทย ที่ราบลุ่มแม่น้ำสาละวินตอนล่าง ที่ราบลุ่มแม่น้ำอิระวดี ในประเทศสหภาพพม่า
3.เขตเทือกเขาสูง เป็นเขตเทือกเขาหินใหม่ ตอนกลางประกอบไปด้วยที่ราบสูง และเทือกเขามากมาย เทือกเขาสูงเหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นเทือกเขาที่แยกตัว ไปจากจุดรวมที่เรียกว่า ปามีร์นอต หรือภาษาพื้นเมืองเรียกว่า ปามีร์ดุนยา แปลว่า หลังคาโลก จากปามีร์นอตมีเทือกเขาสูง ๆ ของทวีปเอเชียหลายแนว ซึ่งอาจแยกออกได้ดังนี้ เทือกเขาที่แยกไปทางทิศตะวันออก ได้แก่ เทือกเขาหิมาลัย เทือกเขาอาระกันโยมา และเทือกเขาที่มีแนวต่อเนื่องลงมาทางใต้ มีบางส่วนที่ จมหายไปในทะเล และบางส่วนโผล่ขึ้นมาเกาะในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก ถัดจากเทือกเขาหิมาลัยขึ้นไปทางเหนือ มีเทือกเขา ที่แยกไปทางตะวันออก ได้แก่ เทือกเขาคุนลุน เทือกเขาอัลตินตัก เทือกเขานานชาน และแนวที่แยกไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ เทือกเขาเทียนชาน เทือกเขาอัลไต เทือกเขาคินแกน เทือกเขายาโบลนอย เทือกเขาสตาโนวอย และเทือกเขาโกลีมา เทือกเขาที่แยกไปทางทิศตะวันตก แยกเป็นแนวเหนือและแนวใต้ แนวเหนือ ได้แก่ เทือกเขาฮินดูกูช เทือกเขาเอลบูชร์ ส่วนแนวทิศใต้ ได้แก่ เทือกเขาสุไลมาน เทือกเขาซากรอส ซึ่งเมื่อเทือกเขาทั้ง 2 นี้มาบรรจบกันที่อาร์เมเนียนนอตแล้ว ยังแยกออกอีกเป็น 2 แนว ในเขตประเทศตุรกี คือ แนวเหนือเป็นเทือกเขาปอนติก และแนวใต้เป็นเทือกเขาเตารัส
4.เขตที่ราบสูงตอนกลางทวีป เขตที่ราบสูงตอนกลางเป็นที่ราบสูงอยู่ระหว่างเทือกเขาที่หินใหม่ ที่สำคัญ ๆ ได้แก่ ที่ราบสูงทิเบตซึ่งเป็นที่ราบสูงขนาดใหญ่ และสูงที่สุดในโลก ที่ราบสูงยูนนาน ทางใต้ของประเทศจีน และที่ราบสูงที่มีลักษณะเหมือนแอ่ง ชื่อ ตากลามากัน ซึ่งอยู่ระหว่างเทือกเขาเทียนชานกับ เทือกเขาคุนลุนแต่อยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเลมากและมีอากาศแห้งแล้งเป็นเขตทะเลทราย
5.เขตที่ราบสูงตอนใต้และตะวันตกเฉียงใต้ เขตที่ราบสูงตอนใต้และตะวันตกเฉียงใต้ ได้แก่ ที่ราบสูงขนาดใหญ่ ทางตอนใต้ของทวีปเอเชียซึ่งมีความสูงไม่มากเท่ากับที่ราบสูง ทางตอนกลางของทวีป ที่ราบสูงดังกล่าว ได้แก่ ที่ราบสูงเดคคาน ในประเทศอินเดีย ที่ราบสูงอิหร่าน ในประเทศอิหร่านและอัฟกานิสถาน ที่ราบสูงอนาโตเลีย ในประเทศตุรกีและที่ราบสูงอาหรับ ในประเทศซาอุดีอาระเบีย

เมืองหลวงแต่ละประเทศ

ประเทศ
ชื่อเมืองหลวง
Afghanistan
Kabul
Albania
Tirana
Algeria
Algiers
Andorra
Andorra la Vella
Angola
Luanda
Antigua and Barbuda
St. John's
Argentina
Buenos Aires
Armenia
Yerevan
Australia
Canberra
Austria
Vienna
Azerbaijan
Baku
Bahamas
Nassau
Bahrain
Al-Man?mah
Bangladesh
Dhaka
Barbados
Bridgetown
Belarus
Mensk (Minsk)
Belgium
Brussels
Belize
Belmopan
Benin
Porto-Novo (official)
Bhutan
Thimphu (official)
Bolivia
Sucre, 204,200; Administrative capital: La Paz
Bosnia and Herzegovina
Sarajevo
Botswana
Gaborone
Brazil
Bras?lia
Brunei
Bandar Seri Begawan
Bulgaria
Sofia
Burkina Faso
Ouagadougou
Burundi
Bujumbura
Cambodia
Phnom Penh
Cameroon
Yaound
Canada
Ottawa, Ontario
Cape Verde
Praia
Central African Republic
Bangui
Chad
N'Djamena
Chile
Santiago
China
Beijing
Colombia
Santaf? de Bogot
Comoros
Moroni (on Grande Comoro)
Congo, Democratic Republic of the
Kinshasa
Congo, Republic of
Brazzaville
Costa Rica
San Jos
C?te d'Ivoire
Yamoussoukro (official)
Croatia
Zagreb
Cuba
Havana
Cyprus
Lefkosia (Nicosia) (in government-controlled area)
Czech Republic
Prague
Denmark
Copenhagen
Djibouti
Djibouti
Dominica
Roseau
Dominican Republic
Santo Domingo
East Timor
Dili
Ecuador
Quito
Egypt
Cairo
El Salvador
San Salvador
Equatorial Guinea
Malabo
Eritrea
Asmara
Estonia
Tallinn
Ethiopia
Addis Ababa
Fiji
Suva (on Viti Levu)
Finland
Helsinki
France
Paris
Gabon
Libreville
Gambia
Banjul
Georgia
Tbilisi
Germany
Berlin
Ghana
Accra
Greece
Athens
Grenada
St. George's
Guatemala
Guatemala City
Guinea
Conakry
Guinea-Bissau
Bissau
Guyana
Georgetown
Haiti
Port-au-Prince
Honduras
Tegucigalpa
Hungary
Budapest
Iceland
Reykjavik
India
New Delhi
Indonesia
Jakarta
Iran
Teheran
Iraq
Baghdad
Ireland
Dublin
Israel
Jerusalem
Italy
Rome
Jamaica
Kingston
Japan
Tokyo
Jordan
Amman
Kazakhstan
Astana
Kenya
Nairobi
Kiribati
Tarawa
Korea, North
Pyongyang
Korea, South
Seoul
Kuwait
Kuwait
Kyrgyzstan
Bishkek (formerly Frunze)
Laos
Vientiane
Latvia
Riga
Lebanon
Beirut
Lesotho
Maseru
Liberia
Monrovia
Libya
Tripoli
Liechtenstein
Vaduz
Lithuania
Vilnius
Luxembourg
Luxembourg
Macedonia
Skopje
Madagascar
Antananarivo
Malawi
Lilongwe
Malaysia
Kuala Lumpur
Maldives
Male
Mali
Bamako
Malta
Valletta
Marshall Islands
Majuro
Mauritania
Nouakchott
Mauritius
Port Louis
Mexico
Mexico City
Micronesia
Palikir
Moldova
Chisinau
Monaco
Monaco
Mongolia
Ulaan Baatar
Montenegro
Podgorica (administrative capital)
Morocco
Rabat
Mozambique
Maputo
Myanmar
Rangoon (Yangon)
Namibia
Windhoek, 221,000. Summer capital: Swakopmund
Nauru
Yaren
Nepal
Kathmandu
Netherlands
Amsterdam (official)
New Zealand
Wellington
Nicaragua
Managua
Niger
Niamey
Nigeria
Abuja
Norway
Oslo
Oman
Muscat
Pakistan
Islamabad
Palau
Koror
Palestinian State (proposed)
Undetermined
Panama
Panama City
Papua New Guinea
Port Moresby
Paraguay
Asunci?n
Peru
Lima
Philippines
Manila
Poland
Warsaw
Portugal
Lisbon
Qatar
Doha
Romania
Bucharest
Russia
Moscow
Rwanda
Kigali
St. Kitts and Nevis
Basseterre (on St. Kitts)
St. Lucia
Castries
St. Vincent and the Grenadines
Kingstown
Samoa
Apia
San Marino
San Marino
S?o Tom? and Pr?ncipe
S?o Tom
Saudi Arabia
Riyadh
Senegal
Dakar
Serbia
Belgrade
Seychelles
Victoria
Sierra Leone
Freetown
Singapore
Singapore
Slovakia
Bratislava
Slovenia
Ljubljana
Solomon Islands
Honiara (on Guadalcanal)
Somalia
Mogadishu
Spain
Madrid
Sri Lanka
Colombo
Sudan
Khartoum
Suriname
Paramaribo
Swaziland
Mbabane
Sweden
Stockholm
Switzerland
Bern
Syria
Damascus
Taiwan
Taipei
Tajikistan
Dushanbe
Tanzania
Dodoma
Thailand
Bangkok
Togo
Lom
Tonga
Nuku'alofa
Trinidad and Tobago
Port-of-Spain
Tunisia
Tunis
Turkey
Ankara
Turkmenistan
Ashgabat
Tuvalu
Funafuti
Uganda
Kampala
Ukraine
Kyiv (Kiev)
United Arab Emirates
Abu Dhabi
United Kingdom
London
United States
Washington DC
Uruguay
Montevideo
Uzbekistan
Tashkent
Vanuatu
Port Vila
Venezuela
Caracas
Vietnam
Hanoi
Western Sahara (proposed state)
El Aaiun
Yemen
Sana
Zambia
Lusaka
Zimbabwe
Harare

วันวิทยาศาสตร์

วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ เป็นวันสำคัญของไทยและมีความสำคัญต่อวงการวิทยาศาสตร์และดาราศาสตร์ไทย กำหนดให้ตรงกับวันที่ 18 สิงหาคม ของทุกปี ซึ่งเป็นวันที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทอดพระเนตรสุริยุปราคาเต็มดวงเมื่อ พ.ศ. 2411 ปัจจุบันมีการจัดงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์ขึ้นเป็นประจำทุกปี
เนื้อหา[ซ่อน]
1 ประวัติ
2 กิจกรรม
3 คำขวัญวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ
4 อ้างอิง
//
[แก้] ประวัติ

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงฉายภาพร่วมกับเจ้าเมืองสิงคโปร์และแขกต่างประเทศ ณ ค่ายหลวงหว้ากอ
รัฐบาลไทยกำหนดให้วันที่ 18 สิงหาคม เป็นวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติเนื่องจากวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2411 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชดำเนินชลมารคและสถลมารค ทอดพระเนตรสุริยุปราคาเต็มดวงที่ทรงคำนวณพยากรณ์ไว้ล่วงหน้า 2 ปี ว่าจะเกิดในวันอังคาร ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 10 ปีมะโรง สัมฤทธิศก จุลศักราช 1230 โดยจะเห็นหมดดวงที่หว้ากอ จ.ประจวบคีรีขันธ์ ตรงเกาะจานขึ้นไปถึงปราณบุรี และลงไปถึง จ.ชุมพร จึงโปรดฯ ให้เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ไปสร้างค่ายหลวงและพลับพลาที่ประทับ มีคณะนักดาราศาสตร์จากประเทศฝรั่งเศส และเซอร์แฮรี ออด เจ้าเมืองสิงคโปร์เดินทางมาเข้าเฝ้าฯ และร่วมในการสังเกตการณ์
ผลการคำนวณของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวแม่นยำมาก เซอร์แฮรี ออด บันทึกเหตุการณ์ไว้ซึ่งต่อมาหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ได้แปลเป็นภาษาไทยในงานหว้ากอรำลึก ณ ท้องฟ้าจำลองกรุงเทพฯ เมื่อ พ.ศ. 2518 ว่า "พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระสำราญมาก เพราะการคำนวณเวลาสุริยุปราคาของพระองค์ ได้พิสูจน์แล้วว่าถูกถ้วนที่สุด ถูกถ้วนยิ่งกว่าที่ชาวยุโรปได้คำนวณไว้"
สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยเฉพาะทางด้านดาราศาสตร์ มีแนวคิดว่าน่าจะถือเอาวันที่ 18 สิงหาคมเป็นวันวิทยาศาสตร์ไทย ต่อมาวันที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2525 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็น "พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย" พร้อมทั้งกำหนดให้วันที่ 18 สิงหาคม เป็น "วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ" วันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2511 หลายหน่วยงาน เช่น สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ กรมอุทกศาสตร์ กรมชลประทาน กรมแผนที่ทหาร กรมอุตุนิยมวิทยา กรมไปรษณีย์โทรเลข ฯลฯ ได้ร่วมกันจัดงานขึ้นเนื่องในโอกาสครบรอบ 100 ปีของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น

วันคริสมาสต์

คริสต์มาส (อังกฤษ: Christmas, Christ's mass, Xmas Nativity, Yuletide, Noel หรือ Winter Pascha) เป็นเทศกาลประจำปี ซึ่งในศาสนาคริสต์ จัดขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองการประสูติของพระเยซู[1][2] ในหลายประเทศ คริสต์มาสตรงกับวันที่ 25 ธันวาคม ของทุกปี (ในอาร์เมเนีย ตรงกับวันที่ 6 มกราคม และในนิกายออร์โธด็อกซ์บางส่วน ตรงกับวันที่ 7 มกราคม[3]) แต่ก็ไม่เป็นที่เชื่อกันว่าวันนี้เป็นวันคล้ายวันประสูติของพระเยซูจริง สำหรับสาเหตุที่เลือกวันดังกล่าวแต่เดิมมีอยู่หลายประเด็น ซึ่งอาจเป็นเพราะว่า วันนี้เป็นเวลาเก้าเดือนพอดีหลังจากนางมารีย์รับการประสูติของพระเยซู[4] ตรงกับเทศกาลบูชาสุริยเทพของโรมันโบราณ[5] หรือไม่ก็ตรงกับเหมายันในซีกโลกเหนือ[6] คริสต์มาสเป็นศูนย์กลางของคริสต์มาสและเทศกาลวันหยุด ในศาสนาคริสต์ คริสต์มาสเป็นส่วนหนึ่งของเทศกาลคริสต์มาส ซึ่งเป็นวันหยุดยาว 12 วัน[7]
ถึงแม้ว่าแต่เดิมคริสต์มาสจะเป็นเทศกาลที่เฉลิมฉลองโดยคริสเตียน แต่ผู้ที่มิได้นับถือศาสนาคริสต์จำนวนมากก็ได้จัดงานเฉลิมฉลองคริสต์มาสอย่างกว้างขวาง[8][9][10] และประเพณีที่ได้รับความนิยมของคริสต์มาสในปัจจุบันมีต้นกำเนิดมาตั้งแต่ก่อนศาสนาคริสต์หรือมาจากทางโลก ซึ่งรวมไปถึง การให้ของขวัญ เพลงคริสต์มาส การแลกเปลี่ยนการ์ดคริสต์มาส การตกแต่งโบสถ์คริสต์ การรับประทานอาหารมื้อพิเศษ และการตกแต่งอาคารต่าง ๆ ด้วยต้นคริสต์มาส มิสเซิลโท หรือฮอลลี่ เป็นต้น และยังมีตำนานอันเป็นที่รู้จักกันแพร่หลายเกี่ยวกับซานตาคลอส (หรือ ฟาเธอร์คริสต์มาส) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการให้ของขวัญแก่เด็ก ๆ ระหว่างเทศกาลคริสต์มาส[11]
เนื่องจากการให้ของขวัญและผลกระทบจากเทศกาลคริสต์มาสในอีกหลายแง่มุมได้ทำให้เกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจอย่างมาก ทั้งในกลุ่มคริสเตียนและผู้ที่ไม่ใช่คริสเตียน วันดังกล่าวจึงกลายเป็นเหตุการณ์สำคัญและช่วงเวลาสำหัรบสินค้าลดราคาสำหรับผู้ค้าปลีกและธุรกิจ ผลกระทบทางเศรษฐกิจของคริสต์มาสเป็นปัจจัยที่ได้เติบโตขึ้นอย่างคงที่ตลอดช่วงหลายศตวรรษที่ผ่านมาในหลายภูมิภาคของโลก

ผลไม้นานาชนิด

คำนี้จึงสามารถอธิบายได้ว่า สิ่งที่เป็นผลผลิตที่เกิดขึ้นจากสิ่งมีชีวิตจำพวกพืช โดยลักษณะรวมๆ จะมีรูปทรงคล้ายทรงกลมหรือทรงรี ซึ่งอาจมีความแตกต่างกันบ้างตามสายพันธุ์ โดยปกติผลไม้จะต้องมีเปลือกหรือมีสิ่งที่ห่อหุ้มเนื้อที่อยู่ข้างใน ซึ่งมักจะถูกนำไปรับประทานโดยมนุษย์หรือสัตว์
ในส่วนของการเจริญเติบโต สามารถขยายพันธุ์ได้โดยดอก เมล็ด หรือ อื่นๆ ซึ่งผลไม้ที่ออกมานี้ตอนแรกจะมีขนาดเล็กและมักจะไม่ค่อยถูกนำมารับประทานโดยมนุษย์ แต่เมื่อเติบโตจนสุกงอม จะมีลักษณะที่แตกต่างไปจากเดิม คือ เปลี่ยนจากสีเขียวเป็นสีเหลือง มีกลิ่นหอม และรสหวาน เป็นต้น จนสามารถนำมารับประทานหรือประกอบอาหาร ส่วนมากมักจะเป็นอาหารหวาน
ถ้าผลไม้สุกงอมเต็มที่จะมีลักษณะที่ก่อให้เกิดประโยชน์ได้น้อยลง เช่น เน่าเสีย บูด ขึ้นรา เป็นต้น และจะหลุดร่วงจากต้นลงสู่พื้นดินหรือพื้นน้ำ กลายเป็นอาหารให้แก่ห่วงโซ่อาหารลำดับถัดไป เช่น แบคทีเรีย จุรินทรีย์ จนกลายเป็นอินทรียธาตุหรืออนินทรียธาตุ หมุนเวียนเป็นวัฏจักรต่อไป
การที่จะบอกได้ว่าเป็นผลไม้อะไรนั้น จำเป็นต้องมีสิ่งบ่งชี้อื่นๆ ประกอบหลายอย่าง เช่น เปลือกมีลักษณะเป็นหนามและแข็ง เนื้อข้างในสีเหลือง หมายถึง ทุเรียน เป็นต้น
[แก้] ผลไม้ในความหมายพฤกษศาสตร์กับผลไม้ในความหมายทั่วไป
ผลไม้ในความหมายทั่วไป หมายถึง ผลไม้ที่สามารถรับประทาน โดยไม่ต้องนำไปปรุงในครัวก่อนแต่มีรสชาติที่ดี ซึ่งอาจจะต้องปอกเปลือกก่อนรับประทาน ดังนั้นอาหารหลายชนิดจึงเป็นผลไม้ในเชิงพฤกศาสตร์แต่กลับถูกจัดว่าเป็นผักในเชิงการทำครัว. อันได้แก่ผลของพืชจำพวกฟัก (เช่น ฟักทอง แฟง และ แตงกวา), มะเขือเทศ, ถั่วลันเตา, ถั่วฝักยาว, ข้าวโพด, พริกหยวก, เครื่องเทศ

กีฬาไทย

กีฬาไทยจัดเป็นศิลปวัฒนธรรมไทยแขนงหนึ่งที่มีเอกลักษณ์ มีความงดงามและทรงคุณค่า ซึ่งบรรพบุรุษได้ค้นคิด สืบสาน ถ่ายทอดและพัฒนามาจนถึงทุกวันนี้ การเล่นกีฬานอกนจากจะช่วยให้ร่างกายได้เคลื่อนไหวกล้ามเนื้อ สร้างความแข็งแรงและห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บแล้ว กีฬาหลายประเภทยังช่วยให้ผู้เล่นได้ฝึกฝนสมาธิ มีความคิดสร้างสรรค์ มีไหวพริบปฎิภาน รู้จักแก้ปัญหาเฉพาะหน้า สามารถหลบหลีกคู่ต่อสู้ได้ กีฬาบางชนิดใช้ผู้เล่นเป็นหมู่คณะ ทำให้ผู้เล่นรู้จักมีความรักความสามัคคี ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเอง มีความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน ตลอดจนเป็นคนมีน้ำใจเป็นนักกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ และรู้อภัย กีฬาไทยที่บรรพชนไทยค้นคิด และถ่ายทอดมาสู่ลูกหลาน บางชนิดกลายเป็นตำนานและความทรงจำ และบางชนิดยังคงมีการเล่นกันอยู่ แม้ว่าจะถูกปรับเปลี่ยนไปให้ทันยุคสมัยก็ตาม แต่ด้วยความสำนึกของความเป็นไทย เราควรร่วมกันสนับสนุนและร่วมส่งเสริม ภูมิปัญญากีฬาไทย ให้อนุชนรุ่นหลังได้รู้จักและร่วมกันอนุรักษ์ต่อไป